เมนู

30. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อวิตักอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย

วาระทั้ง 2 พึงให้พิสดาร.

9. อุปนิสสยปัจจัย


[273] 1. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมแล้ว ให้ทาน สมา-
ทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ย่อมก่อมานะ ถือ
ทิฏฐิ
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน สมาทาน
ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌาน ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยัง
วิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ
มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[274] 2. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ อาศัยศีล
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ.
บุคคลเข้าไปอาศัยความปรารถนาแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัคคธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ.
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิตก
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[275] 3. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้
เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร แก่
สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[276] 4. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[277] 5. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา และวิตก ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[278] 6. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา ฯลฯ วิตกแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ
ปัญญา และวิตก ด้วยอำนาขของอุปนิสสยปัจจัย.
[279] 7. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา ฯลฯ วิตกแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรคให้เกิดขึ้น
ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ฯลฯ
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ความปรารถนา
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[280] 8. สวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยัง
มรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา ฯลฯ วิตกแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค
ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิจาร แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[281] 9. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[282] 10. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญาฯลฯ
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ความปรารถนา
และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[283] 11. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้
เกิดขึ้น
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา
วิจาร สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่
เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา วิจาร
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา วิจาร แก่สุขทางกาย
แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[284] 12. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมแล้ว ให้ทาน สมา-
ทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา
ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา วิจาร สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
ให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯสฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[285] 13. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัย ศีลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ยังฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิตก ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[286] 14. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[287] 15. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล แก่ความปรารถนา และวิตก ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[288] 16. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[289] 17. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[290] 18. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสยะ และ ปกตูปนิสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ
ปัญญา และวิจาร แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[291] 19. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[292] 20. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ
ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา และวิตก
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[293] 21. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจ้ย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[294] 22. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ ความปรารถนา
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[295] 23. สวิตักกวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ฯลฯ
ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่
ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.

[296] 24. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ฯลฯ
ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[297] 25. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกสวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา และวิตก ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.

10. ปุเรชาตปัจจัย


[298] 1. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[299] 2. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ฯลฯ